กระเบื้องยาง SPC
- smart home (6)
- กาว (16)
- ของแต่งบ้าน (29)
- ของใช้ในครัว (7)
- บ้านสัตว์เลี้ยง อุปกรณ์สัตว์เลี้ยง (16)
- บ้านสำเร็จรูป อาคารสำเร็จรูป (67)
- ปูน ซีเมนต์ (21)
- ผนัง (30)
- พรม ปูพื้น ปูห้อง (2)
- พื้น (7)
- รั้วเมทัลชีท (3)
- สมาร์ทบอร์ด ซีเมนต์บอร์ด (10)
- สี และ อุปกรณ์ทาสี (7)
- หลังคา (2)
- อิฐ (12)
- อุปกรณ์สัตว์เลี้ยง (2)
- อุปกรณ์ห้องน้ำ (5)
- อุปกรณ์เพื่อสุขภาพ (6)
- เครื่องมือช่าง (5)
- เครื่องใช้ไฟฟ้า (28)
- เทคโนโลยีสำหรับบ้าน อาคาร (7)
- เหล็ก (1)
- โซล่าเซลล์ (5)
- ไฟเบอร์กลาส และ วัสดุ PE (8)
- ไม้เทียม (85)
- กระเบื้องยาง (51)
- กระเบื้องยาง LVT (2)
- กระเบื้องยาง SPC (3)
- กระเบื้องยาง ลายปูนขัด (4)
- กระเบื้องยาง ลายพรม (1)
- กระเบื้องยาง ลายหินอ่อน (3)
- กระเบื้องยาง ลายไม้ (11)
- กระเบื้องยาง สีพื้น (7)
- กระเบื้องยางม้วน (9)
- กาวปูกระเบื้องยาง (8)
- จมูกบันได กระเบื้องยาง PVC (2)
- ตัวจบกระเบื้องยาง (6)
- บัวเชิงผนังกระเบื้องยาง (8)
- อุปกรณ์ทำความสะอาด (1)
กระเบื้องยาง SPC คืออะไร ทำมาจากอะไร
SPC กระเบื้องยาง (Stone Plastic Composite Flooring ) หรือที่หลายคนมักเรียกว่า พื้น SPC คือ อีกประเภทหนึ่งของกระเบื้องยาง ซึ่งเรียกตามส่วนผสมการผลิต เกิดจากการผสมกันระหว่าง พลาสติกพีวีซี กับ แคลเซียมคาร์บอเนต (หินปูน) ทำให้มีคุณสมบัติพิเศษลดการลามไฟ มีลวดลาย 2 แบบให้เลือก ลายหิน และ ลายไม้ ถึงแม้จะเป็นลายไม้ แต่ก็ไม่ใช่ไม้จริงหมดปัญหาต่างๆ ในเรื่องของปลวก และความชื้นไปได้เลย
- พลาสติก PVC มาพร้อมกับคุณสมบัติพิเศษในเรื่องของความเหนียว และยืดหยุดเป็นพิเศษ
- แคลเซียมคาร์บอเนต มาพร้อมคุณสมบัติพิเศษในเรื่องของความแข็งแรงทนทาน
สำหรับในส่วนของตัวผิวด้านบนที่เป็นลวดลายต่าง ๆ มีการเคลือบด้วย Wear Layer หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ชั้นเคลือบผิว มีความหนาตั้งแต่ 0.30 มิลลิเมตร เป็นการเพิ่มความคงทนต่อการเกิดรอยขีดขวนต่างๆได้ดียิ่งขึ้นกว่าเดิม มาพร้อมโฟมกับวัสดุที่ช่วยให้เดินบนพื้นมีความนุ่มเบาสบาย ไร้เสียง
การใช้งานและวิธีการ ปูพื้น กระเบื้อง SPC
สำหรับกระเบื้องยางชนิดนี้ไม่จำเป็นต้องใช้กาว แต่เป็นตัวคลิ๊กล๊อค (click lock) ต่อกันได้เลย ต้องการมีการเตรียมอุปกรณ์สำหรับการ ใช้งานให้เรียบร้อย ซึ่งอุปกรณ์ได้แก่ ปูนสำหรับปรับพื้น , เกรียงฉาบปูนซีเมนต์, ตลับเมตร , ไม้วัดระดับน้ำ, เต้าตีเส้น, ถังผสมปูน , คัตเตอร์ หรือ เครื่องตัดกระเบื้อง , ฟองน้ำหรือผ้า
- หลังจากเตรียมอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว ต่อไป เราต้องมีการเตรียมความพร้อมให้กับพื้น โดยเริ่มจากการสำรวจพื้นว่าเป็นพื้นแบบไหน หลังจากนั้นเริ่มเคลียร์พื้นที่หน้างานให้เรียบร้อย แล้วก็วัดพื้นหน้าขนาดงาน สุดท้ายเช็คและตรวจสอบความเรียบร้อยของพื้นอีกรอบ
- ขั้นตอนการปู เริ่มจากเอากระเบื้องออกจากกล่องทิ้งไว้ในอุณภูมิห้องประมาณ 20-24 ชม ตรวจสอบความชื้นของพื้นไม่ให้เกิน 5 เปอร์เซ็น หลังจากนั้นเริ่มปูจากทางเข้าก่อน ถึงจะดี แต่ที่สำคัญคือต้องปูไปตามแนวขนานของห้อง ปูห่างจากผนังห้องประมาณ 5 เซนติเมตร หลังจากนั้น ก็ใช้ตัวจบติดตามขอบ แล้วใช้ซีโคลนยาของอีกรอบ เพียงแค่นี้ก็จบแล้ว การใช้งานเรียบร้อยแล้ว